วันศุกร์ที่ 10 เมษายน พ.ศ. 2558

ความสาคัญของขนาดของออร์เดอร์ที่ถูกต้อง

          ตอนนี้เราจะได้เรียนรู้การใช้ขนาดของออร์เดอร์ที่ถูกต้อง
          ขนาดของออร์เดอร์ คือ จานวน lot ของแต่ละออร์เดอร์ที่คุณทาการ Buy หรือ Sell ค่าเงิน
นี่เป็นหนึ่งในทักษะการเทรดที่สาคัญ


เราขอย้ำว่านี่เป็นทักษะที่สาคัญ
          เทรดเดอร์ คือ ผู้จัดการความเสี่ยง นั่นคือความหมายที่ชัดเจนที่สุด ก่อนที่คุณจะเริ่มเทรดเงินจริง ๆ  คุณควรจะต้องคานวณขนาดของออร์เดอร์ในใจได้ !
          การเทรดขนาดของออร์เดอร์ที่ถูกต้องจะทำให้คุณรู้สึกไม่กังวลต่อความเสี่ยง
          เรื่องนี้ขึ้นอยู่กับค่าเงินที่คุณกาลังเทรดและบัญชีของคุณ(ว่าเป็นบัญชี ดอลล่าร์ ยูโร ปอนด์ ฯลฯ) คุณต้องมีขั้นตอนในการคำนวณซักสองสามขั้นตอน
ทีนี้ ก่อนที่เราจะเริ่มคานวณ เรามาดูข้อมูล 5 อย่างที่ต้องใช้กัน :
1. ยอดรวมในบัญชี
2. ค่าเงินที่คุณเทรด
3. % เงินในบัญชีที่คุณอยากจะเสี่ยง
4. Stop loss กี่จุด
5. ราคาของค่าเงินตอนนั้น
ไม่ยากใช่รึเปล่า ? มาดูกันต่อ

การคำนวณขนาดของออร์เดอร์
เพื่อให้เข้าใจง่าย เราจะอธิบายด้วยตัวอย่างแทน
คนนี้เป็นมือใหม่ ชื่อ กอล์ฟ
          นานมาแล้ว ตั้งแต่เขาไม่รู้เรื่องอะไรเกี่ยวกับการเทรดเลย เขาล้างพอร์ท เพราะว่าเขาเทรด Lot ใหญ่เกินไป
เขาเทรดด้วย Position ที่ใหญ่เกินไป!!!
          กอล์ฟไม่ได้เข้าใจความสาคัญของ ขนาดของออร์เดอร์ ต่อขนาดบัญชีของเขา
          เขากลับมาเรียนรู้คราวนี้เพื่อให้เขาเข้าใจยิ่งขึ้น และเพื่อเขาจะได้รู้ว่าเกิดอะไรขึ้นกับเขา และมันจะไม่เกิดกับคุณ !
          ตามตัวอย่าง เราจะแสดงให้คุณเห็นว่า เราจะคำนวณขนาดของออร์เดอร์ของคุณในบัญชี และขนาดของความเสี่ยงที่คุณยอมรับได้
          ขนาดของออเดอร์นั้นไม่เกี่ยวกับว่า หน่วยเงินในบัญชีจะตรงกับ ค่าเงินที่คุณเล่นหรือไม่

หน่วยเงินในบัญชีกับค่าเงิหน่วยเดียวกัน
          กอล์ฟได้ฝากเงิน 5,000 เหรียญสหรัฐในบัญชีเทรด เขาพร้อมที่จะเทรดอีกครั้ง ตอนนี้เขาใช้ระบบ Swing Trade และเทรด EUR/USD และเขาเสี่ยงที่ 200 จุดต่อการเทรด 1 ครั้ง
          หลังจากที่เขาล้างพอร์ทมาหนึ่งครั้งเขา สัญญากับตัวเองว่าจะไม่เสี่ยงมากกว่า 1 % ของบัญชีเทรดของเขาต่อการเทรด 1 ครั้ง มาดูที่ขนาดของออร์เดอร์ขนาดไหนที่เขาควรจะเสี่ยง
          ใช้ยอดเงินในบัญชี และจำนวนเปอร์เซ็นต์ที่คุณอยากเสี่ยง และคำนวณเป็นหน่วยดอลล่าร์
USD 5,000 x 1% (หรือ 0.01) = USD 50
          แล้ว ต่อไปเอาจะนวนเงินที่คุณเสี่ยงได้ หารด้วยจานวนจุดที่คุณ ตั้ง Stop loss คุณก็จะได้ขนาด กำไรหรือขาดทุนต่อ 1 จุด ของค่าเงิน
(USD 50)/(200 pips) = USD 0.25/pip
        ไม่ยากใช่รึเปล่า?

สรุป : ขนาดของออร์เดอร์


          ตอนนี้คุณเป็นนักจัดการความเสี่ยงที่ชำนาญแล้ว
          ถ้าคุณรู้ว่าจะต้องกำหนดขนาดของออร์เดอร์ที่ถูกต้องอย่างไร นั้นเป็นส่วนของการจัดการความเสี่ยง
ส่วนที่เหลือก็คือ วินัยในการเทรด
          คุณต้องทำตาม Stop Loss เข้าออกตามกฏของคุณ และเมื่อคุณมั่นใจคุณก็จะมั่นใจในการทำกำไรยิ่งขึ้น
          สุดท้าย เรารู้ว่าคุณไม่ชอบพกเครื่องคิดเลข และ ไม่ได้มีโปรแกรมคำนวณขนาดของออร์เดอร์ ติดกับโปรแกรมเทรดของคุณ เรามี เครื่องช่วยคำนวณ ออร์เดอร์สาหรับคุณ position sizing calculator !
เยี่ยมไหม ถึงเวลาปรมมือแล้ว เย้ ๆ ๆ ๆ ๆ ขอบคุณครับ ไม่เป็นไร
          ใช้เครื่องคิดเลข ถ้าคุณอยากจะใช้ ...
          คุณควรจะใช้มันทุก ๆ ครั้งที่คุณอยากจะเทรด
เหมือนที่คำเก่า ๆ กล่าวไว้เสมอว่า " ปลอดภัยไว้ก่อนดีกว่ามาพูดว่า เสียใจ ทีหลัง "

ไม่มีความคิดเห็น:

แสดงความคิดเห็น